ภาวะหัวใจหยุดเต้นขณะหลับ อันตรายที่ห้ามมองข้าม ถึงชีวิตได้เลย

ภาวะหัวใจหยุดเต้นขณะหลับ

ภาวะหัวใจหยุดเต้นขณะหลับ

หัวใจหยุดเต้นขณะหลับ เป็นภาวะที่เกี่ยวข้องกับการนอนหลับ เกิดขึ้นเมื่อทางเดินหายใจถูกปิดกั้นบางส่วน หรือทั้งหมด โดยจะทำให้ระบบการหายใจหยุดทำงานชั่วคราว สำหรับสาเหตุของการการเกิดภาวะหยุดหายใจขณะหลับนั้น ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับปัจจัยทางกาย หรือสรีรวิทยา เช่น โรคอ้วน และลักษณะทางกายภาพบางอย่าง เช่น คอหนา ทางเดินหายใจแคบ ต่อมทอนซิลมีการโตมากกว่าปกติ ส่วนเรื่องการหยุดหายใจขณะหลับกี่ครั้งอันตรายนั้น จากการศึกษาและการวิจัยได้ผลสรุปออกมาว่า คนที่นอนหลับแล้วมีภาวะหยุดหายใจมากกว่า 5 ครั้งใน 1 ชั่วโมง เป็นอันตราย และถ้าหากหยุดหายใจในขณะหลับนานกว่า 10 วินาที ก็มีโอกาสเสียชีวิตได้

หัวใจหยุดเต้นขณะหลับมีกี่ประเภท

  • ชนิดอุดกั้น (OSA)

ภาวะหยุดหายใจในขณะหลับชนิดอุดกั้น (OSA) เป็นภาวะหยุดหายใจที่พบได้บ่อยที่สุด คิดเป็นประมาณ 84% ของผู้ป่วยทั้งหมด สำหรับผลเสียที่ตามมาของภาวะหัวใจหยุดเต้นขณะหลับ คือ ทำให้รู้สึกเหนื่อยล้าในเวลากลางวัน ทำให้ระบบการรับรู้บกพร่อง ทำให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับหัวใจและหลอดเลือด เช่น ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และยังทำให้ระบบเผาผลาญทำงานผิดปกติอีกด้วย

  • ชนิดสมองส่วนกลาง (CSA)

ภาวะหยุดหายใจในขณะหลับชนิดสมองส่วนกลาง (CSA) พบได้น้อยกว่า OSA เป็นภาวะการขาดความพยายามในการหายใจระหว่างการนอนหลับ ผลเสียของอาการนี้คือทำให้เกิดอาการไม่สบาย ทำให้เกิดความผิดปกติต่างๆ เช่น นอนไม่หลับ รู้สึกกระส่ายกระสับ มีอาการเหนื่อยล้าและมีภาวะซึมเศร้า และยังมีปัญหาด้านความจำอีกด้วย

  • ชนิดซับซ้อน

ภาวะหยุดหายใจในขณะหลับชนิดซับซ้อน (CompSA) เป็นกลุ่มอาการ การหยุดหายใจในขณะหลับแบบรวมกันของ OSA และ CSA สำหรับผลเสียของภาวะนี้คือ ทำให้เกิดการตื่นนอนตอนกลางคืนบ่อยๆ ทำให้รู้สึกอ่อนเพลียในตอนเช้า และยังมีผลเสียต่อสุขภาพ โดยจะทำให้สุขภาพร่างกายอ่อนแอลงเรื่อยๆ

อาการของภาวะหยุดหายใจขณะหลับ

  1. กรนดังและเรื้อรัง มีเสียงกรนที่ดังกว่าคนทั่วไป และยังกรนบ่อยในทุกๆวัน
  2. นอนหลับไม่ต่อเนื่อง มักจะตื่นบ่อยตลอดทั้งคืน ในตอนที่ตื่นจะรู้สึกหายใจถี่ หรือเหมือนจะรู้สึกสำลัก
  3. ปวดหัวตอนเช้า เมื่อตื่นนอนในตอนเช้าจะรู้สึกตื่นปวดหัว เป็นผลมาจากการขาดออกซิเจนในระหว่างการนอนหลับ
  4. หยุดหายใจชั่วคราวในระหว่างการนอนหลับ คนที่มีอาการนี้ อาจจะไม่รู้ตัวเลยว่าตัวเองได้หยุดหายใจชั่วคราวในระหว่างนอนหลับ
  5. ปากแห้งหรือเจ็บคอ คนที่มีภาวะหยุดหายใจขณะหลับอาจตื่นขึ้นมาด้วยอาการปากแห้ง หรือเจ็บคอเพราะมีการหายใจทางปาก หรือกรนในระหว่างการนอนหลับ
  6. ปัสสาวะตอนกลางคืน เป็นอาการของภาวะหยุดหายใจขณะหลับ เพราะการหยุดชะงักทางการหายใจในระหว่างการนอนหลับ ส่งผลต่อการควบคุมของเหลวในร่างกาย
  7. ง่วงนอนตอนกลางวันมากเกินไป เป็นอาการทั่วไปของภาวะหัวใจหยุดเต้นขณะหลับ อาการนี้จะทำให้การตื่นตัวลดลง สมาธิลดลง และทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของร่างกายลดลง
  8. อารมณ์แปรปรวนและหงุดหงิด ภาวะหยุดหายใจในขณะหลับสามารถนำไปสู่ความหงุดหงิด อารมณ์แปรปรวน และความรู้สึกซึมเศร้า ซึ่งเป็นผลมาจากการอดนอนเรื้อรัง หรือนอนหลับไม่สนิท

การรักษาภาวะหยุดหายใจขณะหลับ

รักษาภาวะหัวใจหยุดเต้นขณะหลับจะขึ้นอยู่กับความรุนแรงของอาการและปัจจัยต่างๆ ด้วยวิธีการรักษาที่ได้รับความนิยมและใช้ได้ผลดี มีดังนี้

1.การบำบัดด้วยความดันบวกทางเดินหายใจต่อเนื่อง (CPAP)

CPAP เป็นวิธีการรักษาทั่วไปที่มีประสิทธิภาพ มักใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการปานกลาง ถึงรุนแรง วิธีการรักษาแบบนี้จะใช้การสวมหน้ากากปิดจมูก หรือปากในขณะนอนหลับ โดยหน้ากากจะถูกเชื่อมต่อกับเครื่องให้แรงดันอากาศ เพื่อทำให้ทางเดินหายใจเปิด และเพื่อป้องกันการหยุดหายใจ

2.การบำบัดด้วยการจัดตำแหน่งร่างกาย

จากการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยบางคนที่มีภาวะหยุดหายใจขณะหลับ มักจะเกิดความผิดปกติเมื่อนอนในบางท่า เช่น นอนหงาย ซึ่งผู้ป่วยเหล่านี้จำเป็นต้องรักษาด้วยการจัดตำแหน่งของหัวและคอ เช่น ใช้หมอนพิเศษ หรืออุปกรณ์ที่ช่วยให้นอนตะแคง เพื่อทำให้ทางเดินหายใจโล่ง และเพื่อไม่ให้เกิดภาวะหยุดหายใจขณะหลับขึ้นบ่อยๆ

3.รักษาด้วยการผ่าตัด

ในบางกรณี การผ่าตัดเป็นการรักษา และแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับโครงสร้าง ที่ส่งผลต่อภาวะหยุดหายใจขณะหลับ ซึ่งจุดประสงค์ในการผ่าตัด ก็เพื่อนำเนื้อเยื่อส่วนเกินออกจากลำคอ เพื่อแก้ไขความผิดปกติในขากรรไกร หรือช่องจมูก และเพื่อจัดตำแหน่งโครงสร้างทางร่างกายที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ

สิ่งสำคัญก่อนทำการรักษาภาวะหัวใจหยุดเต้นในขณะหลับ ผู้ป่วยควรปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ ที่เชี่ยวชาญด้านความผิดปกติของการนอน เพื่อกำหนดแนวทางการรักษาที่เหมาะสม ตามสถานการณ์เฉพาะบุคคล และความรุนแรง ส่วนผู้ป่วยคนไหนที่กังวลใจ ว่าตัวเองจะเกิดอันตรายจากภาวะหัวใจหยุดเต้นในขณะหลับ ให้มองหา เครื่องaed มาไว้ใช้ในกรณีฉุกเฉิน เพราะเครื่อง aed เป็นเครื่องมือช่วยชีวิตที่มีประสิทธิภาพในการกระตุ้นหัวใจ ทำให้หัวใจของผู้ประสบเหตุกลับมาเต้นดังเดิม ซึ่งทำให้ผู้ป่วยตายจากภาวะหัวใจหยุดเต้นในขณะหลับได้

ขอใบเสนอราคาด่วน...คลิก

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *